สมาคมผู้ประกอบโรคศิลปแผนไทย
(เชียงใหม)่ 
สมาคมผู้ประกอบโรคศิลปแผนไทย(เชียงใหม่)
The Association of Licensed Thai traditional medicine
Practitioners (chiangmai)

ที่ทำการสมาคมแพทย์แผนไทย เชียงใหม่
51 อาคารตลาดความรู้สุขภาพ ภายในศูนย์อนามัยที่ 10
ถ.ประชาสัมพันธ์ ต.ช้างคลาน อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 50110
โทร. 053-272740 ต่อ 603 มือถือ 085-1157760,086-9197909 โทรสาร 053-274014


             
   
 


 
 
รายนามคณะกรรมการ
สมาคม
แพทย์แผนไทยเชียงใหม่
ประจำปี พ.ศ. 2550-2551
 
 

การเรียนการสอน
 
 
 
 
 
   ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์   ร.ศ.ดร.พาณี ศิริสะอาด
    ที่ปรึกษา           นายแพทย์ รัฐวุติ สุขมี
                            เภสัชกรจรูญ ญาณะสาร
                            เภสัชกรพลแก้ว วัชรชัยสุรพล
                            นายสุชาญ ชูสุวรรณ
                            นางมณฑิรา อินทะพันธ์      
     

หลักสูตรเภสัชกรรมไทย

ระยะเวลาศึกษา ๑ ปี
เรียนวันเสาร์ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๒.๐๐ น.

     ภาคทษฏี : ศึกษาตัวยาสมุนไพร พืช สัตว์ ธาตุวัตถุต่างๆที่นำมา
ทำยา ศึกษาสรรพคุณ การจัดหมวดหมู่เป็นตำรับยา วิธีปรุงยา กฏหมายที่เกี่ยวข้อง

 
 
   นายกสมาคม        นายวัลลภ เผ่าพนัส
            ภาคปฏิบัติ : ฝึกปฏิบัติวิธีปรุงยาประเภทต่างๆ เช่ยยาลูกกลอน ยา  
     อุปนายก(ฝ่ายพัฒนาและวางแผน)   นายกิตติ กิตติจารุวงศ์       แคปซูล ยาน้ำ ลูกประคบ ยาหม่องน้ำ น้ำมันนวด ฯลฯ ฝึกปฏิบัติทำ  
      อุปนายก (ฝ่ายวิชาการ)                 นายธำรง สุรนันทการกิจ      
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรต่างๆ เช่นแชมพู สบู่ ครีมนวดผม ครีมบำรุงผิว
 
      อุปนายก (ฝ่ายกิจกรรมพิเศษ)         นายสมบัติ ไตรศรีศิลป์       โลชั่น เป็นต้น และทัศนศึกษานอกสถานที่ เืพื่อศึกษา ดูงานด้านสมุน  
     เลขาธิการ           นายศุภศิษฏ์ จันทร์มะโน       ไพร และโรงงานผลิตยาสมุนไพร  
     วิชาการ              นายเอกรินทร์ พรอุดมสุข             เรียนจบแล้ว ได้รับประกาศนียบัตรจากสมาคมฯ และมีสิทธิ์สอบ  
     นายทะ้เบียน        นางสาวจันทรวัลย์ จูตระกูล       ขึ้นทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์  
     ประชาสัมพันธ์     นางสาวกรรจิต นาถไตรภพ       แผนไทย ประเภทเภสัชกรรม จากกระทรวงสาธารณสุข  
     เหรัญญิก             นางสาววินันท์ นิลคช      
 
     ปฏิคม                  นายวิโรจน์ คอนเอม      
หลักสูตรการนวดแผนไทย
 
     พัสดุ                    นางสาวอารีย์ ไชยศรี      
 
      กรรมการบริหาร นางสาวพรพิมล เฉลยวิจิตร       ๑.   นวดเพื่อสุขภาพ ระยะเวลาศึกษา ๑๐ วัน ( ๘๐ ชั่วโมง)  
                                 นายชญานินท์ บุญเลิศ                   ภาคทฤษฏี : เรียนประวัติความเป็นมาของการนวดแผนไทย  
                                 นางสาวหอมปรางค์ ชาลีกัณหา       กายวิภาคศาสตร์ และสรีระวิทยาเบื้องต้น เส้นประธาน ๑๐ ข้อห้ามและ  
                                 นางประภาชลดา อินทวงศ์      
ข้อควรระวังในการนวด การปฐมพยาบาลเบื้องต้น กฏหมาย และ
 
                                 นายอัลดุลลอฮ์ แหละหลี       จรรยาบณในวิชชีพ  
                                 นางสุกัลยา จริยธรรม                    ภาคปฏิบัติ : การวางมือ การจัดท่านวด กิริยา มารยาท ขั้น  
                                 นางสาลี่ พงษธา       ตอนและวิธีการนวด การต้อนรับ และการให้คำแนะนำหลังการนวด  
         
 
          ๒.   นวดฝ่าเท้า  ระยะเวลาศึกษา ๕ วัน ( ๓๐ ชั่วโมง)  
 
นโยบายการบริหารและ แผนงานของสมาคมฯ
                    ภาคทฤษฏี : เรียนเหมือนนวดเพื่อสุขภาพ ยกเว้นเส้น  
          ประธาน ๑๐ และเรียนเพิ่มเติม กายวิภาคศาสตร์ และสรีระวิทยา  
  ๑.   พัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอนทุกหลักสูตร ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน       ฝ่าเท้า  
  ๒.  พัฒนาระบบการบริหารงานภายในสมาคมฯให้มีความทันสมัย และมีประสิทธิภาพ                     ภาคปฏิบัติ : ขั้นตอนและวิธีการนวดเท้า การกดจุดสะท้อน  
  ๓.   พัฒนาบุคคลากรของสมาคมฯเช่นครูผู้สอน และเจ้าหน้าที่ ให้มีประสิทธิภาพ       ที่เท้า การดูแลสุขภาพเท้า  
        ได้มาตรฐาน          
  ๔.   จัดตั้งสถานพยาบาลแพทย์แผนไทย เืพื่อให้บริการตรวจรักษาโรคแก่ประชาชน       ๓.   นวดบำบัดรักษา ระยะเวลาศึกษา ๑๐ วัน ( ๘๐ ชั่วโมง)  
         ทั่วไป และใช้สำหรับเป็นที่ฝึกปฏิบัติงานเวชกรรมไทย สำหรับนักศึกษา                     ภาคทษฤี : เรียนกายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาชั้นสูง  
         แพทย์แผน ไทย สาขาเวชกรรมไทย ชั้นปีที่ ๓       เกี่ยวกับระบบกล้ามเนื้อ เส้นเอ็น กระดูก ระบบประสาท และการไหล  
  ๕.   จัดตั้งสถานที่ผลิตยา และคลังวัตถุดิบสมุนไพรที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน       เวียนของเลือด การตรวจประเมิณอาการผู้ป่วย  
  ๖.   สร้างมาตรฐานวิชาชีพการแพทย์แผนไทย ให้มีเกียรติภูมิและศักดิ์ศรี แห่งวิชา                     ภาคปฏิบัติ : ขั้นตอนและวิธีการนวดรักษาแบ่งเป็น ๕ กลุ่ม  
        ชีพทัดเทียมวิชาชีพอื่นๆ       ๑. ศีรษะและลำคอ ๒.ไหล่และแขน ๓.มือและนิ้ว ๔.สะโพกและขา  
  ๗.   จัดตั้งศูนย์ข้อมูลด้านการแพทย์แผนไทย เพื่อใช้ในการค้นคว้า ศึกษา วิจัย เช่น       ๕.เท้า  
        ห้องสมุดการแพทย์แผนไทย          
 

๘.   ประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการแพทย์แผนไทยให้กับประชาชน
      ทั่วไป เช่นการจัดรายการวิทยุ จัดทำวารสารแจกจ่าย เป็นต้น
๙.   สร้างเครือข่ายด้านการแพทย์แผนไทยเพิ่มขึ้น และเชื่อมโยงเครือข่ายกับองค์กร
      แพทย์ แผนไทยอื่น ในลักษณะเดียวกันทั่วประเทศ
๑๐. ส่งเสริมและผลักดันใหัมีการแก้ไขปรับปรุงกฏหมายที่เป็นอุปสรรคต่อการ พัฒนา       การแพทย์แผนไทย

 

     

หลักสูตรเวชกรรมไทย
ระยะเวลาศึกษา ๑ ปี

ปีที่ ๑   เรียนวันเสาร์ เวลา ๑๓.๐๐ -๑๖.๐๐ น.
      เรียน เฉพาะภาคทษฤี : ศึกษากายวิภาคศาสตร ์และสรีระวิทยา เบื้องต้นมูลเหตุของการเกิดโรค การวินิจฉัยโรค วิธีการรักษาโรค ตำรับยาที่ใช้รักษาโรค ตามคัมภีร์แพทย์ต่างๆรวม ๒๑ คัมภีร์

ปีที่ ๒  เรียนวันอาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐-๑๒.๐๐ น.
     ภาคทษฤี : ศึกษากายวิภาคศาสตร์และสรีระวิทยาชั้นสูง ศึกษาวิธี
การรักษาโรค โดยการปรับสมดุลย์ของร่างกาย กายบริหารแบบโยคะ
และอื่นๆ
     ภาคปฏิบัติ : เรียนนวดและฝึกปฏิบัติ เพื่อรักษาโรคต่างๆ เช่น คอ
ตกหมอน ข้อเท้าแพลง ไหล่ติด สะบักจม ปวดศีรษะจากไมเกรน กระ
ดูกทับเส้นประสาท เป็นต้น

ปีที่ ๓   เรียนวันอาทิตย์ เวลา ๐๘.๓๐ -๑๒.๐๐ น.
     ฝึกปฏิบัติการตรวจรักษาโรคในสถานพยาบาล โดยเน้นเฉพาะโรค
ที่เกี่ยวกับความเสื่อม หรือการสึกหรอของร่างกาย เช่น ความดันโลหิต
สูง เบาหวาน เก๊าท์ หอบหืด ภูมิแพ้ โรคนิ่วต่างๆ อัมพฤกษ์ เนื้องอก มะเร็ง เป็นต้น

     เรียนจบแล้ว ได้รับประกาศนียบัตรจากสมาคมฯ และมีสิทธิสอบขึ้น ทะเบียนเพื่อรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาการแพทย์แผน ไทย ประเภทเวชกรรมจากกระทรวงสาธารณสุข


 
 
 
การให้บริการแก่ประชาชน
 
     สมาคมแพทย์แผนไทย เชียงใหม่ ร่วมกับศูนย์อนามัยที่ ๑๐ (โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพ) เปิดให้บริการนวดแผนไทย ณ บริเวณอาคารตลาดความรู้เพื่อสุขภาพ เพื่อ
ให้บริการแก่ประชาชนทั่วไป และผู้เจ็บป่วยที่สามารถบำบัดรักษาโรคได้ด้วยการนวด
เปิดบริการตั้งแต่ วันจันทร์ ถึงวันเสาร์ เวลา ๙.๐๐ น. - ๑๘.๐๐ น. โดยมีอัตราค่า
บริการดังนี้
 
กรณีมีสิทธิเบิกจากต้นสังกัด
(ข้าราชการ ลูกจ้างของรัฐ พนักงานรัฐวิสาหกิจ)
   - นวดเพื่อการรักษาโรค เช่น ปวดหลัง ปวดเอว ไหล่ติด กระดูกทับเส้น สะบักจม
คอตกหมอน ข้อเท้าแพลง ปวดศีรษะไมเกรน ฯลฯ
   คิดค่าบริการ เป็นแพคเกจฯละ ๓๐๐ บาท
 
รณีไม่มีสิทธิเบิกจากต้นสังกัด (ประชาชนทั่วไป)
     - นวดเพื่อรักษาโรค ค่าบริการครั้งละ                          ๒๐๐    บาท  

 


หลักสูตร ผดุงครรภ์ไทย

รับมอบตัวศิษย์ แต่ยังไม่มีการเรียนการสอน

 

 
   - นวดตัวผ่อนคลายเืพื่อสุขภาพ  ค่าบริการชั่วโมงละ        ๑๕๐    บาท
   - นวดฝ่าเท้า                         ค่าบริการชั่วโมงละ        ๑๒๐    บาท
   - หากต้องการใช้บริการลูกประคบ คิดเพิ่มลูกละ              ๕๐    บาท
 
      
นอกจากนี้ สมาคมฯ ยังมีบริการตรวจธาตุเจ้าเรือน ให้คำปรึกษา ปัญหาสุขภาพการใช้สมุนไพรในการบำบัดรักษาโรคโดย แพทย์แผนไทย สาขาเวชกรรม
 

 



     


เอกสารที่ใช้ในการสมัครเรียน

๑.   สำเนาบัตรประชาชน
๒.   สำเนาทะเบียนบ้าน
๓.   รูปถ่ายขนาด ๑ นิ้ว ๕ รูป
๔.   ค่าธรรมเนียมสมัครเรียน

 

 
 
   


                                        HOME



   
     
   
             
     
thaimedicinecm@yahoo.com

   

<< HOME
<< เภสัชกรรมไทย
<< เวชกรรมไทย
<< นวดไทย
<< พระพุทธศาสนา