The Father of Water Resources Management in Thailand

Water Recources

...... Water is one of the world's renewable resources and is available in three forms - liquid, as water; solid, as ice; and gaseous, as vapor. water play a vital role in influencing global temperature and constitutes an essential element of all living organisms.

...... The water cycle is an enduring natural process of the circulation of water in its various forms. Heat from the sun causes water on the earth's surface to evaporate. The vapors rise into the atmosphere where eventually they meet colder air and condense into a mist of small droplets of water that gradually accumulate as cloud.

When the cloud density reaches a level that is no longer sustainable under gravity, the water falls back to earth as rain, hail or snow. some of this rainwater is absorbed by vegetation and later release through evapo-transpiration from leaves. Some percolates underground or becomes trapped in swamps and marshes, while the rest is held on or near the ground surface as topsoil (surface) water and slowly runs off into canals, creeks and rivers that eventually flow into the sea.

...... Amount of water in the world Our planet earth is known as a water satellite because 70% of its surface, or 361 million square kilometers, is covered with water. Land comprises only 30% or 148 million square kilometers. Volumetrically, the earth's water resources in all three forms total about 1,385 million cubic kilometers, of which 97.3% (1,348 million cubic kilomertes ) is saline water in its oceans and seas. fresh water, including atmospheric vapor, constitudes only 2.7% (37 million cubic kilometers)

..... ปริมาณน้ำฝนในประเทศไทย อิทธิพลของลมฟ้าอากาศที่ทำให้เกิดฝนตกในประเทศไทย ประกอบด้วย

> ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นลมมรสุมที่พัดมาจากไซบีเรีย ช่วงเดือนพฤศจิกายน ถึงเดือนกุมภาพันธ์ มีคุณสมบัติเย็นและแห้ง แต่เมื่อพัดผ่านทะเลจีนใต้และอ่าวไทยจะนำความชุ่มชื่นและฝนตกทางภาคใต้

> ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ เป็นลมที่พัดมาจากมาหาสมุทรอินเดีย ในช่วงเดือนมิถุนายน ถึงเดือนกันยายน มีคุณสมบัติร้อนและชุ่มชื้น ทำให้ฝนตกทั่วทุกภาคในประเทศไทย

> ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่ำ เป็นแนวประทะของลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ กับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ซึ่งจะเคลื่อนอยู่ระหว่างแลทติจูด 10 องศาใต้ ถึงแลทติจูด 25 องศาเหนือ ทำให้เกิดฝนตกในประเทศไทย โดยเฉพาะในเดือนสิงหาคม ถึงเดือนตุลาคม

> พายุโซนร้อน ประเทศไทยได้รับอิทธิพลของพายุไต้ฝุ่น ปีละ 2 ถึง 3 ครั้ง ซึ่งมีถิ่นกำเนิดอยู่บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิก และทะเลจีนใต้ ทำใหเกิดฝนตกในช่วงเดือนกรกฎาคม ถังเดือนกันยายน ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง ส่วนภาคใต้จะเกิดฝนตกในช่วงเดือนตุลาคม ถึงเดือนธันวาคม

...... ปริมาณน้ำฝนเฉลี่ยทั่วประเทศไทย มีค่าประมาณ 1,485 มิลลิเมตร ต่อไป ระยะเวลาฝนตกเฉลี่ย 134 วันต่อไป
-- ภาคเหนือ 1,241 มิลลิเมตรต่อปี -- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 1,406 มิลลิเมตรต่อปี
-- ภาคกลาง 1,226 มิลลิเมตรต่อปี -- ภาคตะวันออก 2,008 มิลลิเมตรต่อปี
-- ภาคใต้ ฝั่งตะวันออก 1,761 มิลลิเมตรต่อปี ฝั่งตะวันตก 2,773 มิลลิเมตรต่อปี

น้ำผิวดินในประเทศไทย


...... ปริมาณน้ำฝนที่ตกในประเทศไทยเฉลี่ยประมาณ 1,485 มิลลิเมตรต่อปี หรือคิดเป็นปริมาณน้ำปีละ 720,000 ล้านลูกบาศก์เมตร เมื่อหักการระเหย การใช้น้ำของพืชและการไหลซึงลงใต้ดินแล้วจะเหลือเป็นน้ำท่าไหลบนผิวดินประมาณปีละ 212,000 ล้าน ลบ.ม. โดยมีน้ำจืดที่นำมาใช้ใหม่ได้ราวปีละ 199,000 ล้านลูกบาศก์เมตร

ลุ่มน้ำ พื้นที่ลุ่มน้ำรวม ชื่อลุ่มน้ำประธาน จำนวนจังหวัด
(ตร.กม.)    
ภาคเหนือ 128,450 สาละวิน กก ปิง วัง ยม น่าน 17
ภาคกลาง 98,476 เจ้าพระยา สะแกกรัง ป่าสัก 19
    ท่าจีน แม่กลอง เพชรบุรี  
    ชายฝั่งทะเลตะวันตก  
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 176,599 แม่น้ำโขง ชี มูล 19
ภาคตะวันออก 36,480 ปราจีนบุรี บางปะกง 8
    โตนเลสาบ ช่ายฝั่งทะเลตะวันออก  
ภาคใต้ 72,102 ภาคใต้ตะวันออก 14
    ตาปี ทะเลสาบสงขลา ปัตตานี  
    ภาคใต้ฝั่งทะเลตะวันตก  
รวม 512,107   76

น้ำบาดาลในประเทศไทย พื้นที่ทั้งหมดของประเทศไทยประมาณ 512,870 ตารางกิโลเมตร สามารถแบ่งออกเป็นพื้นที่ที่มีหิน ดินร่วน 101,240 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณร้อยละ 20 ส่วนที่เหลือประมาณร้อยละ 80 เป็นพื้นแข็ง สำหรับปริมาณน้ำฝนที่ไหลซึมลงสู่แหล่งน้ำบาดาลทั้งประเทศ มีปริมาณ 38,000 ล้านลูกบาศก์เมตร หรือเท่ากับร้อยละ 4.75 ของปริมาณน้ำฝนที่ตกทั้งประเทศ

แอ่งน้ำบาดาล ปริมาณน้ำที่เก็บกัก ปริมาณน้ำที่พัฒนาได้ต่อปี ปริมาณน้ำที่พัฒนาได้ต่อวัน
(ล้าน ลบ.ม.) (ล้าน ลบ.ม.) (ลบ.ม.)
แอ่งเชียงใหม่ - ลำพูน 485 97 265,000
แอ่งลำปาง 295 59 161,000
แอ่งเชียงราย-พะเยา 212 42 115,000
แอ่งแพร่ 160 32 87,000
แอ่งน่าน 200 40 110,000
แอ่งเจ้าพระยาตอนเหนือ 6,400 1,280 3,500,000
แอ่งเจ้าพระยาตอนใต้ 6,470 1,294 3,500,000
แอ่งท่าฉาง 320 64 175,000
แอ่งนครศรีธรรมราช 420 84 230,000
แอ่งระโนด-สงขลา 400 80 200,000
แอ่งหาดใหญ่ 175 35 96,000
แอ่งปัตตานี 340 68 186,000