กองศัลยกรรม

 

 

ภารกิจ

1.      ตรวจรักษาผู้ป่วยทางศัลยกรรม   ในสาขาต่างๆ   ได้แก่    ศัลยกรรมทั่วไปและอุบัติเหตุ

ศัลยกรรมเด็ก   ตลอดจนผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุจากความร้อน และบาดทะยัก

2.      ปฏิบัติหน้าที่ศัลยแพทย์เวร   ทั้งในและนอกเวลาราชการ

3.      ให้การศึกษาอบรมแก่แพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ทั่วไป สาขาประสาทศัลยศาสตร์ ,   แพทย์ฝึกหัด , นักศึกษาแพทย์  ร่วมกับคณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

4.      ร่วมออกหน่วยรับบริจาคโลหิตให้กับกองบริการโลหิต

5.      ออกหน่วยปฏิบัติงานพิเศษต่างๆ   เช่น   หน่วยมิตรประชา, กรป.กลาง, หน่วยศัลยแพทย์อาสา   เป็นต้น

6.      ออกใบชันสูตรบาดแผล

7.      ให้การสนับสนุนหน่วย    ทั้งภายใน และภายนอกกรมแพทย์ทหารอากาศ   ในด้านการให้การรักษาพยาบาลด้านศัลยกรรม

 

การจัดหน่วย

            กองศัลยกรรมแบ่งการจัดหน่วยได้ดังนี้

หน่วยรักษาพยาบาล        แบ่งเป็น

§       ศัลยกรรมทั่วไป

§       ศัลยกรรมประสาท                    

§       ศัลยกรรมยูโร

§       ศัลยกรรมทรวงอก

§       ศัลยกรรมเด็ก

§       ศัลยกรรมตกแต่ง

หน่วยธุรการ  แบ่งเป็น

§       งานสารบรรณ

§       งานเลขานุการแพทย์

§       งานพิมพ์

 

สภานภาพกำลังพลปัจจุบัน

                     

ตำแหน่ง

เงินเดือน

เหล่าทหาร

จำนวน

ผู้อำนวยการกอง

..พิเศษ

.

1

นายแพทย์

..พิเศษ

.

6

นายแพทย์

..

.

11

นายแพทย์

..

.

9

นายแพทย์

น.ต.

พ.

3

นายแพทย์

..

.

3

นายแพทย์

รอบรรจุรับราชการ

พ.

3

นายทหารธุรการ ชั้นสัญญาบัตร

น.ท.

สบ.

1

นายทหารธุรการ ชั้นประทวน

..

สบ.

1

 

รายชื่อศัลยแพทย์กองศัลยกรรม

  1. พล.อ.ต.โพชฌงค์   ซื่อสัตย์                                     ที่ปรึกษา

  2. พล.อ.ต.ณรงค์ภพ  ชุ่มสวัสดิ์                                   ที่ปรึกษา

  3. พล.อ.ต.ชูพันธ์        ชาญสมร                                  ที่ปรึกษา

  4. น.อ.ยอด                สุนทร-วิจารณ์                           ที่ปรึกษา

  5. น.อ.ศุภโชค            จิตรวาณิช                                 ที่ปรึกษา

  6. น.อ.สุชิน                บุญมา                                     ที่ปรึกษา

  7. น.อ.กมล                วัฒนไกร                        ผอ.กศก.รพ.ภูมิพลอดุลยเดช พอ.บนอ.     

  8. น.อ.ธนกฤต            ลิ้มรัตน์

  9. น.อ.วุฒิพันธุ์          บรรจง                            ผอ.กศก.รพ.จันทรุเบกษา

  10. น.อ.วิชัย                รุ่งฟ้าแสงอรุณ                     นายทหารบริหารงาน รพ.จันทรุเบกษา

  11. น.อ.ดำรงค์ศักดิ์      วังเภตรา                                   

  12. น.อ.จักรกริช           สีห์สุรไกร                                 

  13. น.อ.หญิง จันทิรา    คงศักดิ์

  14. น.อ.อนันชัย            เดชอมรธัญ                   

  15. น.อ.ฉัตรชัย            สุนทรธรรม

  16. น.อ.อภิชาต            พลอยสังวาลย์               

  17. น.อ.ธีรวรรณ           วะน้ำค้าง                                  

  18. น.อ.พรยุทธ            ปรีชายุทธ

  19. น.อ.สุวรรณ            เสริมศักดิ์          

  20. น.อ.นพดล             วีรยางกูร

  21. น.อ.เพชร               เกษตรสุวรรณ    

  22. น.อ.ยอดรัก            ประเสริฐ

  23. น.อ.ชัยยา              จันทร์ใส 

  24. น.อ.นพดนัย           ชัยสมบูรณ์  

  25. น.อ.นพดล             นฤปิติ              

  26. น.ท.อัศวิน              คนชม                                                              

  27. น.ท.ณัฏฐวุฒิ         เจียมไชยศรี                               

  28. น.ท.วัฒนศักด์        เพิ่มทรัพย์

  29. น.ท.สุทธิกร            ตัณฑ์ไพโรจน์    

  30. น.ท.กฤษดาพงศ์     เครือเถาว์                                  

  31. น.ท.ปณต              ยิ้มเจริญ                                                           

  32. น.ท.นคร                บุญมี                                       

  33. น.ท.สมนึก             ลัทธินานนท์                              

  34. น.ท.กลินท์             พนมมาศ                                                          

  35. น.ต.จักพันธุ์           เมืองแมน                                  

  36. น.ต.จุมพจน์           โสอินทร์                                    

  37. น.ต.วิษณุ              เพ็งอุ่น                                      

  38. ร.ต.อรรถพร            โสภณสฤษฎ์สุข 

  39. นพ.ธีรศักดิ์             จิรวงศ์บุญรอด

  40. นพ.เดชาพล           บูรณพิทักษ์สันติ                        

  41. นพ.ชาญชัย            สุวรรณกิจ

 

ผู้ดูแลแพทย์ประจำบ้าน

1.          น.อ.อภิชาต            พลอยสังวาลย์                            ที่ปรึกษา

2.          น.อ.เพชร               เกษตรสุวรรณ                             ที่ปรึกษา                       

3.          น.อ.นพดนัย           ชัยสมบูรณ์                                 ประธานกรรมการ

4.          น.ท.อัศวิน              คนชม                                       กรรมการ

5.          น.ท.ณัฏฐวุฒิ         เจียมไชยศรี                                กรรมการ

6.          น.ต.จุมพจน์           โสอินทร์                                     กรรมการ

7.          นพ.ชาญชัย            สุวรรณกิจ                                  กรรมการ

 

ตารางปฏิบัติงานของแพทย์กองศัลยกรรม

 

ตาราง  OPD

ตาราง Set OR

จันทร์

G2

N

U

P (บ่าย)

PED (บ่าย)

G1

CVT

P

N

Scope

อังคาร

G1

N

P

PED (บ่าย)

 

G2

CVT

P

U

Scope

พุธ

G1(คี่)

G2(คู่)

U

CVT

 -

PED

P

N

-

Scope

พฤหัส

G1

N

P

 -

 -

G2

CVT

U

 

Scope

ศุกร์

G2

U

 -

 -

 -

G1

CVT

P

N

Scope

 

 

สาย  G1

พล.อ.ต.โพชฌงค์           (ที่ปรึกษา)

พล.อ.ต.ชูพันธ์               (ที่ปรึกษา)

น.อ.อภิชาต                    (หน.สาย)

น.อ.นพดนัย                   (Staff)

น.อ.นพดล นฤปิติ           (Staff)

น.ท.อัศวิน                     (Staff)

น.ท.วัฒนศักดิ์                (Staff)

น.ท.กฤษดาพงศ์             (Staff)

น.ท.ปณต                      (Staff)

สาย  G2

น.อ.อนันต์ชัย                 (ที่ปรึกษา)

น.อ.ฉัตรชัย                    (หน.สาย)

น.อ.สุวรรณ                    (Staff)

น.อ.เพชร                       (Staff)

น.อ.ชัยยา                      (Staff)

น.ท.สมนึก                     (Staff)

นพ..ธีรศักดิ์                   (Staff)

สาย  Neuro

น.อ.ศุภโชค                    (ที่ปรึกษา)

น.อ.ธนกฤต                   (ที่ปรึกษา)

น.อ.สุชิน                       (ที่ปรึกษา)

น.อ.พรยุทธ                    (ที่ปรึกษา)

น.อ.ยอดรัก                    (หน.สาย)

น.ท.สุทธิกร                    (Staff)

น.ท.กลินท์                     (Staff)

น.ต.จุมพจน์                   (Staff)

สาย Uro

น.อ.วุฒิพันธุ์                  (ที่ปรึกษา)

น.อ.ดำรงค์ศักดิ์              (หน.สาย)

น.อ.ธีรวรรณ                  (Staff)

น.ต.วิษณุ                      (Staff)

นพ.เดชาพล                   (Staff)

สาย Plastic

น.อ.กมล                       (ที่ปรึกษา)

น.อ.จักรกริช                   (หน.สาย)

น.อ.นพดล วีรยางกูร       (Staff)

น.ท.ณัฏฐวุฒิ                 (Staff)

ร.ต.อรรถพร                   (Staff)

สาย CVT

น.อ.ยอด                        (ที่ปรึกษา)

น.อ.วิชัย                        (หน.สาย)

น.ต.นคร                        (Staff)

สาย PED

น.อ.หญิง จันทิรา       คงศักดิ์

สาย Trauma

พล.อ.ต.วิบูลย์                (ที่ปรึกษา)

น.อ.ฉัตรชัย                    (หน.สาย)

น.ต.จักพันธุ์                   (Staff)

นพ.ชาญชัย                   (Staff)

 

จำนวนเตียง และสถิติผู้ป่วย

1.1       จำนวนเตียงผู้ป่วยศัลยกรรม  รวม                  122              เตียง

1.2       จำนวนเตียงหออภิบาลผู้ป่วยหนัก                    22             เตียง

1.3       จำนวนห้องผ่าตัดใหญ่                                     18            เตียง

1.4       เตียงผ่าตัดแยกออกเป็น

Y  ศัลยกรรมทั่วไป                     2          เตียง

Y  ศัลยกรรมประสาท                1          เตียง

Y  ศัลยกรรมระบบปัสสาวะ        1          เตียง

Y  ศัลยกรรมเด็ก                       1          เตียง

Y  ศัลยกรรมทรวงอก                 2          เตียง

Y  ศัลยกรรมตกแต่ง                  1          เตียง

1.5       จำนวนผู้ป่วยนอกของกองศัลยกรรม                      38,609             ราย/ปี

1.6       จำนวนผู้ป่วยในของกองศัลยกรรม             3,413              ราย/ปี

1.7       จำนวนผ่าตัดใหญ่ทางศัลยกรรม                           3,816              ราย/ปี

1.8       จำนวนผ่าตัดเล็ก                                                                        2,226               ราย/ปี

1.9       จำนวน  Autopsy  ของผู้ป่วยศัลยกรรม                    <  5             %ต่อปี

1.10     จำนวนชิ้นเนื้อที่ส่งตรวจ  >  95 % ของจำนวนผู้ป่วยที่รับการผ่าตัด

จำนวนเครื่องมือ   อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับวิชาการ  หรือการดูแลรักษาผู้ป่วย

2.1       Gastrointestinal endoscopy  มีการตรวจดังนี้

            2.1.1    Upper GI endoscopy                          

            2.1.2    Rigid sigmoidoscopy

            2.1.3    Flexible Sigmoidoscopy

            2.1.4    Colonoscopy                                        

            2.1.5    ERCP                                                  

            2.1.6    Intraoperative choledochoscopy         

2.2       Laparoscopic surgery                                                            

2.3       Basic laboratory studies

Blood chemistry (FBS, BUN, creatinine , electrolytes, amylase )

            CBC , Urine analysis

                        สามารถตรวจได้ตลอด  24  ชั่วโมง

2.4  Arterial blood  gas  analysis

                                                สามารถตรวจได้ตลอด 24 ชั่วโมง

           

2.5  Bacterial Culture / Sensitivity test

                    ตรวจเฉพาะในเวลาราชการ ถ้าจะทำในช่วงวันหยุดจะ Culture ลงใน Media                     ไว้ก่อน แช่ตู้เย็น และส่งในวันรุ่งขึ้น

             2.6  ขีดความสามารถในหออภิบาลผู้ป่วยหนัก (ICU)

              2.6.1        จำนวน Ventilator   รวม                         83         เครื่อง

                              Pressure – cycle ventilator                  36        เครื่อง

                              Volume – cycle ventilator                     46         เครื่อง

                              Time – cycle ventilator                         11         เครื่อง

         ในส่วนของ  Ventilator  อยู่ในความดูแลของหน่วยช่วยการหายใจ ซึ่งทำหน้าที่จัดหา         

และบำรุงรักษาเครื่องช่วยหายใจทั้งหมดของโรงพยาบาล

             2.6.2         จำนวน Infusion pump                     26       เครื่อง

             2.6.3         Cardiac defibrillator                          4        เครื่อง

             2.6.4         สัดส่วนพยาบาลในหออภิบาล : จำนวนเตียงผู้ป่วย   =    12

            

การบริการที่เป็นปัจจัยเกื้อหนุน

3.1  กองพยาธิกรรม

3.1.1     จำนวนพยาธิแพทย์                                3        คน

             จำนวนแพทย์ประจำบ้าน                          -         คน

3.1.2        คุณภาพและขีดความสามารถ

3.1.2.1.1        การตรวจชิ้นเนื้อโดยการย้อม H&E (ประมาณ 6,000 ชิ้น/ปี)

3.1.2.1.2        การทำ Frozen section      (ประมาณ   150  ชิ้น/ปี)

3.1.2.1.3        การศึกษาทาง Cytology    (ประมาณ  250  ชิ้น/ปี)

3.1.2.1.4        การตรวจศพ  (Autopsy)

-    การตรวจศพ  3  ปี ย้อนหลัง                            50   ราย/ปี

-    การตรวจศพทางนิติเวช  3 ปี ย้อนหลัง              629      ราย/ปี

3.1.3        เวลาใช้ในการตรวจชิ้นเนื้อจนถึงการรายงานผล       5    วัน

3.1.4        การจัดประชุมร่วมกับภาควิชา / แผนก / กองศัลยกรรม หรือหน่วยงานทางคลินิกอื่นๆ      จำนวน      1        ครั้ง/เดือน

3.1.5        แพทย์ประจำบ้านศัลยศาสตร์ที่หมุนเวียนมาปฏิบัติงาน   :   ไม่มี

3.1.6        มีหลักสูตรที่กำหนดแน่นอนให้แก่แพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์ที่มาปฏิบัติงานอย่างเป็นรูปธรรมหรือไม่อย่างไร    :    ไม่มี

3.2  กองรังสีกรรม

            3.2.1    จำนวนอาจารย์รังสีแพทย์รวม                               10        คน

-     อาจารย์รังสีวินิจฉัย                                            5        คน

-     อาจารย์รังสีรักษา                                              3        คน

-     อาจารย์เวชศาสตร์นิวเคลียร์                                1        คน

-     อาจารย์ทาง  Intervention radiology                 1        คน

3.2.2    จำนวนแพทย์ประจำบ้าน ภาควิชา/แผนก/กองรังสีวิทยา  :    ไม่มี

3.2.3    คุณภาพ และขีดความสามารถในเวลาราชการต่อไปนี้มีหรือไม่

-       การตรวจ  Barium study                                :           มี

-       การตรวจ  Ultrasonography                          :           มี

-       การตรวจ  Angiography                                 :           มี

:- Diagnostic                            :           มี

:- Interventional                       :           มี

-                                  การตรวจ  Mammography

:- Diagnostic                            :           มี

:- Needle localization               :           มี

:- Stereotactic                          :           มี

-       การตรวจ  CT  scan                                      :           มี

-       การตรวจ : MRI / MRA                                    :           ไม่มี

                        :- MRCP                                    :           ไม่มี

-       การให้รังสีรักษา                                                         :           มี

:- Interventional                       :           มี

3.2.4    กิจกรรมทางวิชาการกับทางภาควิชา / แผนก / กองศัลยกรรม

                        หรือหน่วยงานทางคลินิกอื่นๆ                    :           มากกว่า  4  ครั้ง/เดือน

            3.2.5    มีหลักสูตรที่เป็นรูปธรรมแก่แพทย์ประจำบ้านสาขาศัลยศาสตร์หรือไม่  เช่น 

การสอน การทำและการอ่าน  Ultrasound  การสอน  การอ่าน  Plain film,     

Barium study  :   มีการอบรม  Ultrasound   แก่แพทย์ประจำบ้านหลักสูตร  

1  เดือน    (ให้มีการการทำด้วยตนเองภายใต้การควบคุมของรังสีแพทย์)

 

3.3            กองวิสัญญี และห้องผ่าตัด

                        3.3.1    จำนวนวิสัญญีแพทย์                               5          คน

                                    แพทย์ประจำบ้านวิสัญญี                         -           คน

                                    พยาบาลวิสัญญี                                    34         คน

                        3.3.2    คุณภาพและขีดความสามารถต่อไปนี้มีหรือไม่                     -

-          Arterial pressure monitoring                                 :           มี

-          Pulse oximetry                                                      :           มี

-          Intraoperative continuous EKG monitoring           :           มี

-          Intraoperative continuous CVP monitoring           :           มี

-          การใส่  Swan – Ganz catheter                               :           มี

3.3.3    การจัดกิจกรรมทางวิชาการ ภายในภาควิชา / แผนก /

                        กองวิสัญญี  :     มีวิชาการทุกวันพุธ  เวลา  0800-09.00  น.

                        3.3.4    การจัดกิจกรรมทางวิชาการนอกภาควิชา /แผนก/กองวิสัญญี

กับภาควิชาศัลยศาสตร์ หรือภาควิชาอื่นๆ   :    จัดอบรมของ รพ. ปีละ  1  ครั้ง

                        3.3.5    มีหลักสูตรของแพทย์ประจำบ้าน  สาขาศัลยศาสตร์ที่มาปฏิบัติงานอย่างชัดเจน

หรือไม่               :           GA   อย่างน้อย               5          ราย

                                                            :           SA   อย่างน้อย               5          ราย

                        3.3.6    แพทย์ประจำบ้านศัลยศาสตร์ที่หมุนเวียนมาปฏิบัติงาน

-          ระยะเวลาการปฏิบัติงานนาน  1          เดือน

-          จำนวนแพทย์ประจำบ้านมาครั้งละ      1          คน

-          จัดเวรให้แพทย์ประจำบ้านศัลยศาสตร์อยู่เวรวิสัญญีหรือไม่  : ให้ปฏิบัติงานห้องผ่าตัด     สัปดาห์ที่ 1    เข้าห้องผ่าตัดศัลยกรรม ,  สัปดาห์ที่ 2  เข้าห้องผ่าตัด  ENT  (เพื่อดูเรื่อง  Airway Maintainment )  สัปดาห์ที่ 3  เข้าห้องผ่าตัด Ortho ,  สัปดาห์ที่ 4  เข้าห้องผ่าตัดตามสายงานของแพทย์ประจำบ้าน 

 

3.4            โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช    มีธนาคารเลือด  ที่สามารถเตรียมเลือดและส่วนประกอบ           ของเลือดได้ตลอด  24  ชั่วโมง  

3.5            กองศัลยกรรม      ไม่มีหน่วยระบาดวิทยาของกองเอง  แต่ได้มอบหมายให้มีอาจารย์เป็น  ผู้ดูแลงานวิจัยตามพันธกิจโดยผ่านคณะกรรมการวิจัยของกองศัลยกรรม อย่างไรก็ตาม     กองศัลยกรรมสามารถขอความสนับสนุน จากศูนย์วิจัยฯ   ของโรงพยาบาลได้   โดยเฉพาะด้านสถิติทางการวิจัย

 

3.6            โรงพยาบาลภูมิพลอดุลยเดช    มีหน่วยเวชระเบียนและสถิติอยู่ที่  ชั้น 2 และชั้น 3  ของอาคารคุ้มเกล้า  

3.7            การจัดเก็บข้อมูลในปัจจุบัน   ได้มีการ  ออกแบบใบสรุปใหม่  ซึ่งจำเป็นต้องลง  ICD-10  สำหรับการวินิจฉัยโรค  และ  ICD-9  CM   สำหรับหัตถการที่กระทำกับผู้ป่วย

3.8            สถาบันสมทบ      ไม่มีโดยตรง  แต่มีการส่งแพทย์ประจำบ้านไปรับการฝึกอบรมยัง               สถาบันฝึกอบรมอื่น  คือ

·      ภาควิชาศัลยศาสตร์   รพ.จุฬาลงกรณ์  เป็นเวลา            2          เดือน

·      ภาควิชาพยาธิวิทยา รพ.จุฬาลงกรณ์     เป็นเวลา            1          เดือน

·      กลุ่มงานศัลยกรรมเด็ก สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี       เป็นเวลา   1   เดือน 

·      ภาควิชาศัลยศาสตร์ทรวงอก รพ.ศิริราชเป็นเวลา 1          เดือน

ปริมาณของทรัพยากรในการเรียนรู้  (Quality of learning resources )

4.1       จำนวนตำราทางศัลยศาสตร์  ทั้งหมดในห้องสุมดมีดังนี้

            4.1.1    Schwartz          10        เล่ม

            4.1.2    Sabiston           9         เล่ม

            4.1.3    Greenfield        4         เล่ม

            4.1.4    Maingot            2         เล่ม

            4.1.5    Atlas of Operative Procedure   2          เล่ม

            4.1.6    ตำราศัลยศาสตร์ต่างประเทศอื่นๆ รวม       776      เล่ม

            4.1.7    ตำราศัลยศาสตร์ภาษาไทย                       รวม       170      เล่ม

4.2       จำนวนวารสารทางศัลยศาสตร์  ที่มีในห้องสมุดมีอะไรบ้าง

            4.2.1    Surgical Clinic North of America

            4.2.2    Annual of Surgery

                        4.2.3    American Joumal of Surgery

                        4.2.4    Journal of Trauma

4.2.5    Neurosurgery

                        4.2.6    Journal of Urology

                        4.2.7    Plastic and Reconstructive Surgery

                        4.2.8    Journal of Pediatric Surgery

                        4.2.9    Journal of Thoracic and Cardiovascular Surgery

                        4.2.10  Journal of Neurosurgery

                        4.2.11  Urologic Clinic North of America

                        4.2.12  Clinic Plastic Surgery

                        4.2.13  Annual of Throracic Surgery

                        4.2.14  Gastrointestinal Endoscopy

                        4.2.15  Burn

                        4.2.16  British Journal of Surgery

                        4.2.17  World Journal of Surgery

                        4.2.18  Surgical Endoscopy

                        4.2.19  Audio-Digest General Surgery

            4.3       โรงพยาบาลมีระบบสารสนเทศ

                        4.3.1    Med Line                      :           ทำได้ตลอดเวลา

                        4.3.2    Internet Facility                        :           ทำได้ตลอดเวลา